AR Code กับหนังสือเรียน

เมื่อพูดถึง AR Code แล้ว หลายคนคงมีประสบการณ์ที่หลากหลายแตกต่างกันออกไป อยู่ที่เครื่องมือที่เคยใช้งาน แต่ในปัจจุบันสมาร์ทโฟนมีความสามารถในการใช้งานที่สูงมาก เมื่อเทียบกับแต่ก่อน แทบจะเข้ามาแทนคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ หรือโน๊ตบุ๊คไปเลย แอปพลิเคชั่นที่รองรับ AR Code มีมากมายหลากหลายให้เลือกใช้งาน เช่น AR Code กับหนังสือเรียน, AR Code กับสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ หรืออื่นๆ เป็นต้น

AR Code กับหนังสือเรียน

การเรียนวิทยาศาสตร์จะไม่ใช่เรื่องน่าเบื่ออีกต่อไป เมื่อ สสวท.นำเอาเทคโนโลยี AR มาใช้ในหนังสือเรียน ส่องเห็นภาพ 3 มิติผ่านทางสมาร์ทโฟน

AR Code กับหนังสือเรียนทำให้เด็ก ๆ เข้าถึงบทเรียนได้ง่ายมากขึ้น

นิติคุณ ยุกตะนันท์ CEO,

จากตัวอย่างเป็น AR Code รูปแบบ Marker กล่าวคือเป็นจากใช้แอปพลิเคชั่น สแกนที่หนังสือเรียน โดยผู้ใช้งานต้องดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นผ่าน WiFi ให้เสร็จก่อน จึงจะใช้งานได้ และข้อดีของการดาวน์โหลดครั้งเดียวเสร็จ จะทำให้ผู้ใช้งานไม่จำเป็นต้องใช้สัญญาณอินเตอร์เน็ตอีกในการใช้งาน การใช้ AR Code กับหนังสือเรียนจึงเหมาะสบกับการใช้งานลักษณะนี้ เพราะถ้าใช้งานผ่านสัญญาณอินเตอร์เน็ตทุกครั้ง อาจจะเป็นอุปสรรค์ต่อนักเรียนที่ ไม่มีสัญญาณอินเตอร์ที่บ้าน หรือที่โรงเรียน

ค่าใช้จ่ายในการสร้างแอพพลิเคชั่น AR Code ในรูปแบบ Offline นี้จะต้องดูที่ฟังชั่นการใช้งานเป็นหลัก และอนิเมชั่นที่แสดงโดยต้องดูรายละเอียดดังต่อไปนี้

ลำดับฟังชั่นต่าง ๆรายละเอียด
1หน้าตาของแอปพลิเคชัน AR Codeส่วนใหญ่จะใช้หน้าปกของหนังสือมาออกแบบ เพื่อให้ลักษณะรูปแบบ ไปในแนวทางเดียวกัน
2ฟังชั่น ล๊อกโมเดลการที่ผู้ใช้งานสแกน AR Code แล้ว หันหน้ากล้องไปทางอื่น โมเดลที่อยู่บนหน้ากระดาษจะมาปรากฏ กลางหน้าจอแทน
3ฟังชั่น หมุน-ย่อขยายเมื่อเนื้อหาอนิเมชั่น เป็นสามมิติ ผู้ใช้งานควรที่จะ หมุน โมเดลไปมาได้ เพื่อที่จะได้ดูรอบด้าน 360 องศา
4ฟังชั่น การหมุนกล้องเพื่อที่จะ ก้มเงย โมเดลขึ้นลง ทำให้มีมุมมองที่มากกว่า การหมุนโมเดลไปทาง ซ้าย หรือ ขวา
5ฟังชั่น ถ่ายรูปการถ่ายรูป อาจจะจำเป็นเพื่อการประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ใช้งานเอารูปที่ถ่ายในแอปพลิเคชันไปเผยแพร่ ต่อไปในสื่อโซเชียลมีเดียอื่น ๆ เช่น Facebook หรืออื่น ๆ
6ฟังชั่น นับจำนวนคนใช้งานเป็นฟังชั่นที่จำเป็นมาก ๆ เพราะว่าการนับจำนวนคนใช้งาน จะทำให้เรารู้ได้ว่า AR Code นั้น ๆ มีคนดูจำนวนมากน้อยขนาดไหน และจุดที่มีคนใช้งานจำนวนมาก จะทำให้เรารู้แนวทาง และการพัฒนาต่อไปในอนาคต
7หน้าวิธีการใช้งานหน้าวิธีการใช้งาน ถูกบังคับใช้ในระบบ iOS พร้อมกับภาพตัวอย่าง Marker ตามข้อบังคับของ Apple ที่ผู้ใช้งานต้องได้เห็นภาพ Marker ตัวอย่าง เราไม่จำเป็นต้องใส่ทั้งหมด อาจจะเป็นเพียงแค่รูปตัวอย่าง 1 รูปก็พอ
8หน้าข้อระเบียบการใช้งานสำหรับเด็กทีอายุต่ำกว่า 13 ปีมาตราฐานชุมชน สำหรับผู้ใช้งานที่อายุต่ำกว่า 13 ปี ต้องมีคำอธิบายว่าใช้งานยังไง มีข้อบังคับอะไร และอะไรควรทำ และไม่ควรทำ ระยะห่างในการใช้งาน
ตัวอย่างหน้าอธิบาย สำหรับเด็กที่อายุต่ำกว่า 13 ปี ซึ่งหน้านี้เองเป็นไปตามกฎของ Android

ตัวอย่างลิงก์เต็มเพื่อดูข้อมูล http://illusion.in.th/privacy-policy-ipst/

หน้าแรกของแอปพลิเคชั่น แสดงเมนูต่าง ๆ

เราควรต้องให้ผู้ใช้งานเรียนรู้จากเมนูต่าง ๆ ได้ง่าย หรืออาจจะใช้ iCon วางไว้ด้านหน้าด้วย เพื่อให้เข้าใจได้ง่ายมากขึ้น

หน้าวิธีการใช้งานแอปพลิเคชั่น เพื่อบอกผู้ใช้งานว่า แอปพลิเคชั่นของเราใช้งานอย่างไร และมีฟังชั่นอะไรบ้าง

หน้าวิธีการใช้งานส่วนใหญ่จะบอกผู้ใช้งานว่า แอปพลิเคชั่นของเรานั้นมีฟังชั่นอะไรบ้าง เล่น ฟังชั่นการหมุน ฟังชั่นการย่อขยาย หรืออื่น ๆ เพราะถ้าเราไมมีหน้าอธิบายผู้ใช้งานอาจจะไม่เข้าใจ

หน้าตัวอยางภาพมาร์คเกอร์ ตามกฎของ Apple ที่บังคับว่าแอปพลิเคชั่นที่เป็น AR Code ต้องมี เพื่อให้ผู้ใช้งานเข้าใจ และเห็นตัวอย่างก่อนการใช้งาน อาจจะใส่เพียง 1 รูปก็ได้
ภาพตัวอย่าง AR Code กับหนังสือเรียนของ สสวท ที่พัฒนาโดย บริษัท อิลูชั่น คอนเน็ก (ประเทศไทย) จำกัด

จะเห็นได้ว่า AR Code มีกับการศึกษามีฟังชั่นพื้นฐานหลายอย่างที่จำเป็น เพราะเราต้องเรียนรู้ จากพฤติกรรมของผู้ใช้งานเป็นหลัก และนำมาพัฒนาต่อยอดไปเรื่อย ๆ

ปรึกษาเรื่อง AR Code ได้ที่
โทร : 063789694 คุณโจ
E-mail illusion.thai@gmail.com
www.illusin.in.th

ใส่ความเห็น